บุคลากร ภาควิชาประวัติศาสตร์

ผศ.สุพรรณี เกลื่อนกลาด

Assist. Prof. Supannee Kluanklad

หัวหน้าภาควิชา

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1935

  Email: jeabfy@hotmail.com

ประวัติการศึกษา

  • ศศ.ม. (เศรษฐศาสตร์การเมือง), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผลงานทางวิชาการ

  • โครงการวิจัยเรื่อง “ขบวนการทางสังคมของคนพิการไทย” (Social Movement of Thai Disabilities), กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ, 2560.
  • โครงการพัฒนาและวิจัยเพื่อสนับสนุนการจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอที่มุ่งสู่อำเภอสร้างเสริมสุขภาพกรณีศึกษาอำเภอ โพธิ์ประทับช้าง จังหวัด พิจิตร, 2557.
  • โครงการศึกษาการพนันกับการแข่งขันเรือยาวประเพณี ภายใต้การสนับสนุนจากศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.
  • Raising Awareness and Engaging Citizens in Local Governance, USAID, 2556.
  • โครงการพัฒนาตลาดเมืองเก่าสุโขทัย “ตลาด 700 ปี” ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย กระทรวงสาธารณสุข, 2555.
  • โครงการ “การจัดการระบบตลาดและศึกษาความสัมพันธ์ชุมชนกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม” เพื่อการขับเคลื่อนตลาดเมืองเก่า 700 ปี ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย กระทรวงสาธารณสุข, 2554.
  • โครงการ “การจัดการท้องถิ่นเพื่อการศึกษา: กรณีศึกษาศูนย์การเรียนรู้” ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2553.
  • โครงการศึกษาวิจัยการบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Best Practices) “กรณีศึกษาองค์การบริหารจังหวัดแพร่” ภายใต้การสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกล้า, 2552.
  • โครงการศึกษาวิจัยการบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Best Practices) “กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลเมืองบางขลัง จังหวัดสุโขทัย” ภายใต้การสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกล้า, 2552.
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2558. “ชนบทในนิมิตร: ภาพฝันเพื่อชนชั้นกลาง?” ชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์, ปีที่ 5 ฉบับที่ 8 (มกราคม-มิถุนายน, 2558): 55-93.
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาดและคณะ. 2558. “การแสวงหาอนาคตร่วมกันบนพื้นฐานอัตลักษณ์ส่วนบุคคลของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอในจังหวัดอุตรดิตถ์.” วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), ปีที่ 8 (มกราคม-เมษายน, 2558).
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2553. “โครงการศึกษาการพนันกับการแข่งขันเรือยาวประเพณี.” วารสารบัณฑิตศึกษามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม, 2556): 79-96.
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2553. “รถโดยสารประจำทางจากบ้านไร่ถึงตลาดคลองตาล: อดีตและปัจจุบัน.” ใน ประวัติศาสตร์ปริทัศน์. พิษณุโลก: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2553. “โครงการเสวนาประวัติศาสตร์ใส่บาตรบวชพระสามัคคี ครั้งที่ 1-2-3 องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย.” ใน บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า' 52: ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2553.
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2553. “ศูนย์เครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น หรือ Clinic Center ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่.” ใน บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า' 52: ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2553.
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2552. “การจัดการทรัพยากรท่องเที่ยวในท้องถิ่นของ อบต. เมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย.” ใน พลวัตชุมชนภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลก: สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ทุนและรางวัลที่เคยได้รับ

  • โครงการศึกษาวิจัยการบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 2558(Best Practices) ได้รับรางวัลได้รับรางวัลพระปกเกล้าด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ กรณีศึกษาเทศบาลนครพิษณุโลก อ.เมือง จ.พิษณุโลก, 2558.
  • โครงการศึกษาวิจัยการบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 2558 (Best Practices) ได้รับรางวัลพระปกเกล้าด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรณีศึกษาเทศบาลตำบลกงไกรลาศ อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย, 2558.

รศ. ดร.ทวีศักดิ์ เผือกสม

Assoc.Prof.Dr.Davisakd  Puaksom

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1931

  Email: davisakd.puaksom@gmail.com

ประวัติการศึกษา

  • Ph.D. (Southeast Asian Studies), National University of Singapore
  • อ.ม. (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • Post Grad. Dip. (International Relations), Institute of Social Studies, Netherlands
  • ว.บ. (หนังสือพิมพ์), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ

  • โครงการวิจัยเรื่อง “วิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์” โดยการสนับสนุนของเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ฝ่ายมนุษยศาสตร์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2561.
  • โครงการวิจัยเรื่อง “ภูมิทัศน์ทางปัญญาแห่งประชาคมอาเซียน: เรียนรู้เพื่อร่วมเดินไปข้างหน้าด้วยกัน” โดยการสนับสนุนของเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2558.
  • โครงการวิจัยเรื่อง “โครงการจัดทำพจนานุกรมภาษาอินโดนีเซีย-ไทยฉบับสมบูรณ์, พจนานุกรมภาษาไทย-อินโดนีเซียฉบับสมบูรณ์ และพจนานุกรมภาษาอินโดนีเซีย-ไทย กับภาษาไทย-อินโดนีเซียฉบับพกพา” โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2553-2555.
  • โครงการวิจัยเรื่อง “สภาวะความเป็นสมัยใหม่อันแตกกระจาย: การค้นหาประวัติศาสตร์ สังคม-วัฒนธรรมของปาตานี (Fragmented Modernities: The Quest for a Social and Cultural History of Patani)” ภายใต้การสนับสนุนของมูลนิธิเอเชีย (Asia Foundation), 2553-2554.
  • โครงการวิจัยเรื่อง “การทำอิสลามให้เป็นชวา” รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ภายใต้ชุด โครงการ “ความสัมพันธ์ไทยกับโลกอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” โดยการสนับสนุนของสำนักวิจัยแห่งชาติ (วช.), สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2550-2553.
  • โครงการวิจัยเรื่อง “การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย: เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม” รายงานการวิจัยในโครงการภูมิปัญญาทักษิณ โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2545.
  • Puaksom, D. 2017. “Review: Siam’s New Detectives: Visualizing Crime and Conspiracy in Modern Thailand, by Samson Lim (Honolulu: University of Hawaii Press, 2016).” Technology and Culture, Vol.58 (July 2017): 883-4.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2558. “วีรบุรุษไพร่แดงในชวา,” น.353-382. ใน เจ้าพ่อ ประวัติศาสตร์ จอมขมังเวทย์, บรรณาธิการโดย ธนาพล ลิ่มอภิชาตและสุวิมล รุ่งเจริญ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยามปริทัศน์.
  • Puaksom, D. 2015. “Review: Cleanliness and Culture: Indonesian Histories, Edited by Kees van Dijk and Jean Gelman Taylor (KITLV Press, 2011); Consoling Ghosts: Stories of Medicine and Mourning from Southeast Asians in Exile, By Jean M. Langford (University of Minnesota Press, 2013); Global Movements, Local Concerns: Medicine and Health in Southeast Asia, Edited by Laurence Monnais and Harold J. Cook (NUS Press, 2012).” Journal of Southeast Asian Studies, Vol.46, No.1 (February): 147-150.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2557. “คำสัญญาของความปรารถนา: การเมืองว่าด้วยเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพกับวาทกรรมของศีลธรรมในช่วง 2490-2550.” แปลโดยจีรพล เกตุจุมพล. ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 12 ฉบับที่ 2-3 (พฤษภาคม-ธันวาคม 2557).
  • Puaksom, D. 2014. “A Promise of Desire: On the Politics of Health Care and Moral Discourse in Thailand, 1950-2010,” pp.175-196. In Public Health and National Reconstructions in Post-War Asia: International Influences, Local Transformations, edited by Liping Bu and Ka-che Yip. London and New York: Routledge.
  • Puaksom, D. 2007. “Of Germs, Public Hygiene, and the Healthy Body: The Making of the Medicalizing State in Thailand." The Journal of Asian Studies, Vol.66, No.2 (May 2007): 311-344.
  • Puaksom, D. “Review: Claudia Merli’s Bodily practices and medical identities in southern Thailand (Uppsala: Uppsala Studies in Cultural Anthropology no.43, Acta Universitatis Uppsala, 2008).” Journal of Southeast Asian Studies, Vol.44, No.2 (2011): 368-370.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2552. “รูปเงาบนแผ่นดินชวาและวาลีทั้งเก้า." รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์), ปีที่ 30 ฉบับฉบับพิเศษ เล่มที่ 1 (2552): 118-181.
  • Puaksom, D. 2008. “Of a Lesser Brilliance: Patani Historiography in Contention." In Thai South and Malay North: Ethnic Interactions on a Plural Peninsular, edited by Michael J. Montesano and Patrick Jory (Singapore: NUS Press).
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม (บก.). 2561. ปัญญาชน ศีลธรรม และสภาวะสมัยใหม่: เสียงของมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เคล็ดไทย, โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2560ก. เรย์นัลโด อิเลโต้: มวลชนคนชั้นล่าง ประวัติศาสตร์แห่งชาติ และความรู้แบบอาณานิคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมมติ.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2560ข. วงศาวิทยาของอิเหนา: ปัญหาเรื่องลิ้น ความลื่นไหลของสัญญะ และการเดินทางสู่โลกของปันหยี. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ยิปซี.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2560ค. วีรบุรุษไพร่ชวา: รัฐมุสลิม สภานักบุญ และผู้มีกำเนิดจากไส้เดือนดิน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ยิปซี.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2555. ประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย: รัฐจารีตในหมู่เกาะ ความเป็นสมัยใหม่แบบอาณานิคม และสาธารณรัฐแห่งความหลากหลาย (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ).
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2550. เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2547. อินโดนีเซียรายา: รัฐจารีต สู่ “ชาติ" ในจินตนาการ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ).
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2546. คนแปลกหน้านานาชาติของกรุงสยาม (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน).

ทุนและรางวัลที่เคยได้รับ

  • ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 21 (2561)
  • รางวัลชมเชยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ประเภทหนังสือสารคดี เรื่อง “เรย์นัลโด อิเลโต้: มวลชนคนชั้นล่าง ประวัติศาสตร์แห่งชาติ และความรู้แบบอาณานิคม,” 29 มีนาคม 2561
  • Wang Gangwu Best Ph.D. Thesis and Prize, 2007-8, National University of Singapore -Research Scholarship, National University of Singapore, 2004-2007.
  • Special President’s Fellowship, National University of Singapore, 2004.
  • Darma Siswa Scholarship, Indonesian Government, 2003.
  • The Netherlands Fellowship Programme, Institute of Social Studies, The Hague, 1996.

ผศ. ดร.มนตรี กรรพุมมาลย์

Assist. Prof. Montri Kunphoommarl

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1933

  Email: montrinu@hotmail.com

ประวัติการศึกษา

  • 2543 Ph.D. in Sociology (Rural and Environmental Studies), Michigan State University, East Lansing, MI.USA ทุนมูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกา (Fulbright) ทุน 3 ปี (1991-1993)
  • 2531 Certificate (Design on Community Forestry), International Agriculture Center, Wageningen, the Netherlands ทุนรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ ทุน 3 เดือน
  • 2528 M.Sc. (Rural Development Planning), Asian Institute of Technology (AIT), Bangkok, Thailand ทุนเรียน DAAD และทุนวิจัย CIDA ทุน 20 เดือน
  • 2521 รัฐศาสตร์บัณฑิต (การปกครอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลงานทางวิชาการ

  • 2562 โครงการ “แนวทางสนับสนุนเศรษฐกิจข้าวและความมั่นคงทางอาหารภายใต้บริบทสังคมจังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดพิจิตร” ทุนวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • 2560 โครงการ “พัฒนาฐานข้อมูลเครือข่ายผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิจัยและท่องเที่ยวภาคเหนือ” ทุนวิจัย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
  • 2555 โครงการติดตามประเมินผล ประชาธิปไตยชุมชน 15 จังหวัดภาคเหนือ ทุนวิจัยสภาพัฒนาการเมือง
  • 2555 โครงการ “แนวทางการพัฒนาประชาคมจังหวัด ในการส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง จังหวัดพิษณุโลก” ทุนวิจัยสภาพัฒนาการเมือง
  • 2554 โครงการ ”แนวทางการสร้างความเข้มแข็งองค์กรสวัสดิการชุมชน ระดับตำบล จังหวัดพิษณุโลก” ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2553 โครงการ “สำนึกพลเมือง: กรณีศึกษาตำบลหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก” ทุนวิจัยสภาพัฒนาการเมืองจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
  • 2564 ร่วมกับ บุษฎี แววศักดิ์ “บทบาทของประธานาธิบดีโจโค วิโดโด ในการใช้ทวิตเตอร์เป็นเครื่องมือการสื่อสารทางการเมือง ประเทศอินโดนีเซีย” วารสารสันติศึกษาปริทรศน์ มจร ISSN:2539-6765 (Online) TCI กลุ่ม1 ปีที่ 9 ฉบับที่ 7 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2564)
  • 2563 ร่วมกับ มัทนา อินกรัด “พัฒนาการและกระบวนการความเป็นเมือง: กรณีศึกษาเมืองย่างกุ้ง ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ตั้งแต่ ค.ศ.1990-2015” วารสารช่อพะยอม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคราม ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2563 หน้า 11-33
  • 2562 “Experiences of Religious Pluralism in Thailand: Lessons for Southeast Asian Countries” International Journal of Interreligious and Intercultural Studies (IJIIS) ISSN: 2654-2706, Volume 2, Number 1, April 2019.ij
  • 2561 “อาณาบริเวณศึกษา: จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ” วารสารโพธิวิจัย: วารสารการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม ถึง มิถุนายน 2561 หน้า 7-19
  • 2559 ร่วมกับ สฤษดิ์ ผาอาจ “พลวัตการจัดการทุนทางสังคมในชุมชนต่างศาสนา: กรณีศึกษาชุมชนตำบลทรายขาว ตำบลโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี” วารสารพัฒนาสังคม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์) 18(1) หน้า 61-84
  • 2559 ร่วมกับ นิตยา ค้อไผ่ นิสาพร วัฒนศัพท์และภูฟ้า เสวกพนธ์ “การพัฒนาศักยภาพศูนย์พัฒฯเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยกระบวนการมีส่วนร่วม” วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 กค-ธค หน้า 149-175
  • 2559 ร่วมกับ ชาญวิทย์ วสยางกูร “The Model of Cultural Based Tourism Management in Urban Community: A Case Study of Thai-Vietnamese Community in Mukdahan Province, Thailand” วารสารอารยธรรมโขง-สาละวิน ปีที่ 7 ฉบับที่ 1
  • 2558 “พัฒนาการของการพัฒนาชุมชน: จากแนวคิดสู่การปฎิบัติ” ในหนังสือรวมบทความ ชีวิตอำนาจ ชาติพันธุ์ Robert Doyle และคณะ เป็นบรรณาธิการ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2558 ร่วมกับ สุทิน อ้อนอุบล พัชรินทร์ สิรสุนทรและทวีศักดิ์ ศิริพรไพบูลย์ “การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในจังหวัดชัยภูมิ” วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มค-มิย หน้า 223-257
  • 2562 “State-Society Roles in Disaster Management in Thailand: Case of Northern Watershed Area” at International Conference on Disasters, Indigenous Knowledge and Resilience, Center for Applied Research in the Social Sciences (CARESS), University of the Philippines, Diliman, The Philippines April 3-4, 2019.
  • 2561 “Religious Pluralism Experiences in Thailand: Lessons for Southeast Asian Countries” at 2nd International Seminar on Interreligious and Intercultural Studies: Religious Pluralism in Southeast Asia, Universitas Hindu Indonesia, Denpasar, Bali 6 December 2018.
  • 2561 “The Trend of Poverty Alleviation in Myanmar: An Application of Social Protection Approach” at 2nd International Conference on Burma/Myanmar Studies, Mandalay University, Myanmar February 16-18, 2018.
  • 2560 “Deliberative Democracy in Southeast Asian Countries: Lesson from Thailand” at Consortium for Southeast Asian Studies in Asia (SEASIA) Conference on Unity in Diversity: Transgressive Southeast Asia, Bangkok, Thailand December 16-17, 2017.
  • 2560 “Civic Education and Deliberative Democracy Practices in Thailand: A Social Inclusive Approach” at 23rd IFSSO General Conference on Global Connectivity, Cross-Cultural Connections, Social Inclusion and Recognition: The Role of Social Sciences”, Warmadewa University, Denpasar, Bali, Indonesia September 11-12, 2017.
  • 2560 “People’s Politics in Thailand: Lessons of Civil Society Practices in Community and Deliberative Democracy” at 13rd International Conference on Thai Studies, Chiang Mai, Thailand July 15-18, 2017.
  • 2560 Keynote Address “Recent Trends in Management, Business, Humanities & Technology” at 4th International Conference on RTMBHT 2017, Kasetsart University Hall, Bangkok, Thailand February 13, 2017.
  • 2559 “Deliberative Democracy in Thailand: Lessons of Civil Society Movement Practices” at International Conference on Public Policy and Public Consultation: Deliberative Democracy in Asia Co-organized by Nanyang Technological University, Public Policy and Global Affairs Program and Stanford University, Center for Deliberative Democracy at Nanyang Technological University, Singapore May 20-21, 2016.
  • 2558 “Sociology of Ethnicity Concepts and Theories: Applications to Ethnicity Movement Studies in Mekong Sub-regions” in Mekong Sub-Regions” in International Conference Proceeding on Life, Power, and Ethnic August 20-21, 2015 at Naresuan University.
  • 2558 “Welfare Development policy and Practices for Poverty Reduction in Thailand: Community Process, Impacts, and Challenges” 19th International Consortium for Social Development (ICSD 2015) SIM University, Singapore July 7-10, 2015.
  • 2558 “Practicing Social Protection Policy for Poverty Reduction in Thailand: Process, Impacts, and Challenges for ASEAN Communities.” The 22nd IFSSO General Assembly and International Conference 2015 on Glocalization: A Social Scientific Approach towards Social Design for the Creation of Multicultural Society at Seijo University, Tokyo, Japan May 29-June 1, 2015
  • 2562 ประวัติศาสตร์กีฬา เอกสารประกอบการสอน ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2560 ประวัติศาสตร์การพัฒนาประเทศลุ่มน้ำโขง เอกสารประกอบการสอน ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2546 ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ เอกสารคำสอน หลักสูตรปริญญาโทเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ทุน รางวัล และการเป็นสมาชิกสมาคมวิชาชีพ

  • 2560-ปัจจุบัน กรรมการบริหาร Executive Board Member International Federation of Social Science Organization (IFSSO)
  • 2559 รางวัล น.ม.ส. 100 ปี สหกรณ์ไทย
  • 2558 เข็มกิตติกุล ชั้นที่ 5 สถาบันพระปกเกล้า (5 กันยายน 2558) ในฐานะประธานศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมืองจังหวัดพิษณุโลก สถาบันพระปกเกล้า
  • 2558 นักวิจัยรับเชิญ (1 เดือน) บัณฑิตศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล (Seoul National University) ประเทศเกาหลีใต้ ในประเด็นการคุ้มครองทางสังคมผู้สูงอายุในมุมมองชุมชน ทุนมหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2557 นักวิจัยดีเด่น คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2557 นักวิจัยรับเชิญ (1 เดือน) คณะสังคมศาสตร์และรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยซิดนีย์ (University of Sydney) ประเทศออสเตรเลีย ในประเด็น การเมืองภาคพลเมืองเพื่อขับเคลื่อนประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ทุนมหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2556 นักวิจัยรับเชิญ (1 เดือน) สถาบันสังคมวิทยา สังกัด Academia Sinica ไทเป ประเทศไต้หวัน ในประเด็นการเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ทุนมหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2554 บทความดีเด่น ในการประชุมนานาชาติ ประเทศศรีลังกา ในเรื่อง “Thailand and Sri Lanka Social Policy Experience: Institutional Roles in the Extension of Social Protection”
  • 2552 ทุนนักวิจัยแลกเปลี่ยนไทย-อินเดีย (1 เดือน) จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ร่วมกับ ICSSR อินเดีย ประเด็นการจัดการสวัสดิการเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน
  • 2547-8 ทุนนักวิจัยรับเชิญ (5 เดือน) ณ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐวอชิงตัน ทุนมูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (Fulbright) ประเด็นสังคมวิทยาอาหาร
  • 2540 ทุนนักวิจัยแลกเปลี่ยนไทย-ญี่ปุ่น (JSPS) (1 เดือน) มหาวิทยาลัยชูโอ (Chuo University), โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ประเด็นการจัดการขยะแบบรีไซเคิล
  • ปัจจุบัน สมาชิกสมาคมศิษย์เก่า มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน, มหาวิทยาลัยแห่งรัฐมิชิแกน, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ และสมาชิกนักวิจัยของคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

รศ. ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล

Assoc.Prof.Dr. Wasin Punyawuttakul

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1940

  Email: ajtop_1@hotmail.com

ประวัติการศึกษา

  • ศศ.ด. (พัฒนาสังคม), มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • อ.ม. (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยว), มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผลงานทางวิชาการ

  • การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชื่อมโยงกลุ่มประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง เสนอต่อสำนักงานกองทุนการวิจัย (สกว.), กำลังดำเนินการ
  • การจัดการการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมในจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน เสนอต่อสำนักงานกองทุนการวิจัย (สกว.), 2558
  • การพัฒนารูปแบบและผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวในจังหวัดพิษณุโลกเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียน (ผู้ร่วมวิจัย) ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจาก สำนักงานสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2558
  • สถานการณ์ความเสี่ยงความอ่อนไหว และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงต่อสภาพภูมิอากาศ (ผู้ร่วมวิจัย: ด้านการท่องเที่ยวและมรดกโลก) ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจาก สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.), 2558
  • มยุรี เหง้าสีวัฒน์: การนิยมความเป็นลาวในประชาคมโลก เสนอต่อสำนักงานกองทุนการวิจัย (สกว.), 2558
  • การเพิ่มมูลค่าและศักยภาพด้านการจัดการการท่องเที่ยวในจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน, 2557
  • แนวทางการจัดการความมั่งคงในภาวะวิกฤตกองทัพภาค 3 เสนอต่อกองทัพบก กระทรวงกลาโหม, 2556
  • พลวัตของชุมชนลุ่มน้ำน่าน เสนอต่อคณะกรรมการลุ่มน้ำน่าน จังหวัดพิษณุโลก, 2552
  • พัฒนาเทศบาลตัวอย่างแบบบูรณาการ กรณีศึกษา นครบาลเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2547-2551 (วิจัยร่วม) เสนอเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์, 2551
  • โครงการจัดทำแผนแม่บทกลุ่มพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมสุโขทัย (วิจัยร่วม) เสนอสำนักงานการพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวกีฬาและนันทนาการ, 2551
  • โครงการออกแบบและจัดทำพิพิธภัณฑ์เมืองเพชรบูรณ์ เสนอต่อเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์, 2550
  • การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในพื้นที่ระเบียงวัฒนธรรม (กำแพงเพชรพิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย) เสนอต่อสำนักงานกองทุนการวิจัย (สกว.), 2550
  • การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัดกำแพงเพชร เสนอต่อสำนักงานการท่องเที่ยวกีฬาและนันทนาการจังหวัดกำแพงเพชร, 2549
  • การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวแบบบูรณาการจังหวัดสุโขทัย เสนอต่อสำนักงานจังหวัดสุโขทัย, 2548
  • โครงการออกแบบและจัดทำอนุสรณ์สถานในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และพิพิธภัณฑ์เหตุการณ์การต่อสู้ยุทธภูมิบ้านกกสะทอนอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย เสนอต่อกองทัพบก กระทรวงกลาโหม, 2547
  • Panyavuttrakul, W., and Tinakhat, P. 2559. “Arts and Cultural Based Tourism Management in Uttaradit, Phrae and Nan Provinces.” วารสารอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน 7, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559): 115-136.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล และอภิสิทธิ์ ปานอิน. 2559. สีสันแห่งชีวิตของคนถีบสามล้อเมืองพิษณุโลก. พิษณุโลก: รัตนสุวรรณการพิมพ์.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. “มะยุรี เหง้าสีวัทน์: การนิยามความเป็นลาวในประชาคมโลก.” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 9 “ปัญญาชน ศีลธรรม และภาวะสมัยใหม่: เสียงของมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้?” 27-28 สิงหาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก; ชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์, ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 (มิถุนายน-ธันวาคม 2558): 457-473.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: พ่อขุนรามคำแหงมหาราช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: สมเด็จพระนารายณ์มหาราช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 72558. ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: สมเด็จพระนเรศวรมหาราช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • บุณยสฤษฎ์ อเนกสุข และ วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. พิศโลกเมื่อแรกเที่ยว: พัฒนาการท่องเที่ยวในจังหวัดพิษณุโลก. เชียงใหม่: โรงพิมพ์แม็กซ์พริ้นติ้ง, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2556. ภูมิปริทัศน์ภาคเหนือตอนล่างสายธารอารยธรรมโขง-สาละวิน. ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2556. พระราชวังจันทน์ สถานภาพ องค์ความรู้ รูปลักษณ์สัญฐาน. สถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน.

ทุนและรางวัลที่เคยได้รับ

  • โล่เกียรติยศ บุคลากรดีเด่น (สายวิชาการ) ประเภทอาจารย์ดีเด่นด้านการวิจัย, คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2558
  • ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม ด้านศิลปะสาขาโบราณคดี, กระทรวงวัฒนธรรม, 2558
  • ศิษย์เก่าดีเด่น มหาวิทยาลัยนเรศวร, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2558
  • โล่เกียรติยศ ในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิผู้ที่ทำงานในการพัฒนาจังหวัดพิษณุโลกอย่างต่อเนื่อง, สมาคมสื่อท้องถิ่น, 2558
  • อาจารย์ผู้อุทิศตนเพื่อสังคม, คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2557
  • 20 ผลงานวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยนเรศวร, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552

ผศ. ดร.อุดมพร ธีระวิริยะกุล

Assist. Prof. Udomporn Teeraviriyakul

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1939

  Email: udomporn74@gmail.com

ประวัติการศึกษา

  • Ph.D. (Thai Studies), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ

  • โครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทสหกรณ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน: กรณีศึกษา สหกรณ์ภาคเหนือ ประเทศไทย”, สถาบันพระปกเกล้า, 2560
  • โครงการวิจัยเรื่อง “โครงการศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชน: ชุมชนคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ” ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่เขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2559
  • นักวิจัยร่วม, รายงานฉบับสมบูรณ์ “การประเมินผลโครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ,” สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ – สำนักงาน กปร., 2559
  • นักวิจัยในโครงการย่อย, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเพื่อมุ่งสู่อำเภอสร้างเสริมสุขภาพ (24DHS) อำเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ – สสส., 2559)
  • Teeraviriyakul, U. 2016. “Bangkok: From an Antique to a Modern City,” pp.119-136. In Sites of Modernity: Asian Cities in the Transitory Moments of Trade, Colonialism, and Nationalism V.1, ed. Wasana Wongsurawat (Berlin, Heidelberg: Springer).
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2559. “แนวคิดการสร้างชาติ: เชื้อชาติ ศาสนาและความเชื่อกับการสร้างอัตลักษณ์ กรณีของอินโดนีเซีย,” น.67-200. บทความนำเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการเรื่อง “ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร: ความมั่นคง สังคม และวัฒนธรรม (History of Maritime Southeast Asia: Its Security, Society and Culture), สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, วันที่ 10-11 มีนาคม 2559.
  • สมลักษณ์ ศรีราม และ อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2559. “สมเด็จฮุน เซนกับการครองอำนาจนำทางการเมืองในกัมพูชา.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 94-112. (TCI กลุ่ม 2) *
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2559. “แนวทางการสร้างชาติ: เชื้อชาติ ศาสนา และความเชื่อกับการสร้างอัตลักษณ์: อินโดนีเซีย.” วารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯ, ฉบับที่ 38 (2559): 67-100.
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2558. “จาก ‘ประวัติศาสตร์ชาติ’ สู่ ‘ประวัติศาสตร์ประชาคมอาเซียน’: ศึกษากรณีประวัติศาสตร์ไทยในมิติที่มีต่อความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน.” วารสารมนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปีที 4 ฉบับที่ 2 (2558): 36-51.
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2557. “Construction of National Heroes and Heroines in Southeast Asia (การสร้างวีรบุรุษ วีรสตรี และวีรชนของชาติอาเซียน),” น.167-191. บทความนำเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการเรื่อง “ไทย-พม่าศึกษาในกรอบประชาคมอาเซียน” จัดโดยมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวร, 18-19 ธันวาคม พ.ศ.2557.
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2557. “ปริทัศน์หนังสือ Rudolf Mrazek’s A Certain Age: Colonial Jakarta through the Memories of its Intellectuals.” วารสารชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2557): 135-148.
  • Teeraviriyakul, U. 2014. “Religions and religious movements in nation-making in ASEAN.” ASIA REVIEW (Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University), Vol.27, pp. 93-109.
  • Teeraviriyakul, U. 2014. Bangkok Modern: The Transformation of Bangok with Singapore and Batavia as Models, 1861-1897. Bangkok: Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University.
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2558. สารานุกรมประวัติศาสตร์ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ฉบับราชบัณฑิตยสภา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. หน้า 63-93.

ทุนและรางวัลที่เคยได้รับ

  • The Project of Empowering Network for International Thai Studies (ENITS), Chulalongkorn University, 2012
  • Asian Graduate Student Fellowships 2011, Asia Research Institute (ARI), Singapore (May – July 2011)
  • Visiting Scholar, Asia Research Institute (ARI), under the scholarship of H.R.H. Princess Sirindhorn, Singapore (May – July 2009)
  • Scholarship for the Doctoral Degree (Thai Studies Program, Chulalongkorn University), Faculty of Social Sciences, Naresuan University (June 2008 – September 2012)
  • Grant for the English Training Program, Massey University, New Zealand (March – May 2006)
  • Grant for the Indonesian Training Program, Southeast Asian Studies Regional Exchange Program (SEASREP), University of Indonesia, Indonesia (September 1998 – February 1999)

ดร.ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว

Dr. Natthaphong Sakulleaw

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1934

  Email: nut_leaw@hotmail.com

ประวัติการศึกษา

  • ปร.ด. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานทางวิชาการ

  • นักวิจัยในชุดโครงการวิจัยเรื่อง “วิธีวิทยาและองค์ความรู้เกี่ยวกับมนุษย์และวัฒนธรรมจากผลงานของนักมนุษยศาสตร์ นักมานุษยวิทยา และนักรัฐศาสตร์ไทย” โดยทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), ระยะเวลา 2 ปี, 2558 – 2560.
  • ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์, ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว, และอานนท์ ตันติวิวัฒน์. 2555. “การเกิดขึ้นและขยายตัวของนักข่าวพลเมืองกับความเปลี่ยนแปลงทางความคิดเรื่องสิทธิ เสรีภาพ และประชาธิปไตยในภาคเหนือของประเทศไทย.” รายงานการวิจัยได้รับทุนจาก “โครงการประชาธิปไตยเพื่อท้องถิ่น” ประจำปี พ.ศ.2555.
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2559. “ชีวิตสามัญชนในภาคเหนือตอนล่างกับการก้าวสู่รัฐสมัยใหม่ของสยาม,” น. 79-118. ใน มนุษยศาสตร์ที่แปรเปลี่ยนในโลกที่เปลี่ยนแปลง, บก. อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ (กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์).
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2558ก. “การเดินทาง การศึกษา และการเลื่อนสถานะของสามัญชนในยุคเปลี่ยนผ่าน.” ชุมทางอินโดจีน, ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 (กรกฎาคม-ธันวาคม, 2558): 163-179.
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2558ข. “เสียงเพรียกก่อนอรุณรุ่ง: สามัญชนกับการสถาปนาระเบียบใหม่แห่งสยาม.” ชุมทางอินโดจีน, ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 (มกราคม-มิถุนายน, 2558): 123-150.
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2556. “ทุ่งมหาราช: ความหวังและความเคลื่อนไหวของสามัญชนสมัยปฏิรูป.” มนุษยศาสตร์สาร, ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม, 2556): 32-65.
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2555. “จาก ‘ทุนนิยมโดยรัฐ’ สู่ ‘รัฐทุนนิยม’ ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมกับการเมืองไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2.” มนุษย์ศาสตร์สาร, ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555).
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2553. “จาก ‘ทุนนิยมโดยรัฐ’ สู่ ‘รัฐทุนนิยม’ ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมกับการเมืองไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ตุลาคม 2552-มีนาคม 2553): 58-78.
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2551. “การก่อตัวของ ‘ชนชั้นกลาง’ กับการเสื่อมสลายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและ “ทุนนิยมโดยรัฐ.” ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม, 2551): 128-149.
  • ณัฏฐพงษ์ เลี่ยววิวัฒน์อุทัย. 2551. “การ “ปรับตัว” ของ “นายทุนจีน” ภาพสะท้อนความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมไทยในทศวรรษ 2490.” ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ 29 ฉบับที่ 10 (สิงหาคม, 2551): 72-95.

ทุนและรางวัลที่เคยได้รับ

  • รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 3 ในโครงการประกวดเรียงความเรื่อง “ทิศทางของวิชาประวัติศาสตร์ในทศวรรษหน้า,” เนื่องในวันสถาปนาคณะมนุษยศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ครบรอบ 34 ปี, วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2552

ดร.ชัยพงษ์ สำเนียง

Dr.Chaipong Samnieng

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1941

  Email: chaipong08@gmail.com , chaipongs@nu.ac.th

ประวัติการศึกษา

  • ปริญญาตรี ศึกษาศาตรบัณฑิต (สังคมศึกษา)
  • ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ปริญญาเอก สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานทางวิชาการ

  1. โครงการ “ความสัมพันธ์ไร้พรมแดน: การจัดการทรัพยากรสองริมฝั่งโขง ของชาวเชียแสน-เชียงของ และต้นผึ้ง-ห้วยทราย” พ.ศ.2555-2556 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (หัวหน้าโครงการ) (เสร็จสิ้นโครงการ)
  2. โครงการ แรงงานข้ามชาติอัตลักษณ์และสิทธิความเป็นพลเมือง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. พ.ศ.2556-2557 (หัวหน้าโครงการ) (เสร็จสิ้นโครงการ)
  3. โครงการวิจัย พลวัตการเมืองท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. พ.ศ.2556-2558 (หัวหน้าโครงการ) (เสร็จสิ้นโครงการ)
  4. โครงการวิจัย “ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์" ระยะที่ 1 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ.2558-2560 หัวหน้าโครงการ อ.ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร (เสร็จสิ้นโครงการ)
  5. โครงการวิจัย “ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์" ระยะที่ 2 หัวหน้าโครงการ อ.ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เป็นหัวหน้าโครงการย่อย “การแปรทุนเศรษฐกิจและวัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย (พ.ศ. 2475-2560)” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2560-2562
  6. โครงการวิจัย ต่อยอดองค์ความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ ปี 2561 อ.ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร หัวหน้าโครงการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2561-2562 (กำลังดำเนินการ)
  7. โครงการ ประเมินฯ ชุดวิจัยมุ่งเป้าด้านมนุษยศาสตร์ รศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ หัวหน้าโครงการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2562-2563 (กำลังดำเนินการ)
  8. โครงการ การเมืองดิจิตอล (digital politics) : การเปลี่ยนภูมิทัศน์ทางการเมืองของคนกลุ่มใหม่ในโลกเสมือน หัวหน้าโครงการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2562-2563 (กำลังดำเนินการ)
  • ชัยพงษ์  สำเนียง.  (2556).  พิริยะเทพวงศ์อวตาร : วีรบุรษ กบฏ การประดิษฐ์สร้างตัวตนใหม่ทางประวัติศาสตร์  ศิลปวัฒนธรรม  ปีที่  34  ฉบับที่  9  หน้า : 114-129.______.  (2557).  คนกลุ่มใหม่ในชนบทกับการเมืองท้องถิ่น  วารสารสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2557) หน้า 127-166.______.  (2558).  ชุมชนจินตกรรม/ความชิดเชื้อทางวัฒนธรรม : สิ่งประกอบสร้างของความเป็นชาติ มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2557) หน้า 138-148. (บทวิจารณ์หนังสือ/บทความปริทัศน์)

    ______.  (2558).  “ประวัติศาสตร์ของ ‘กบฏ’ ‘กบฏ’ ของประวัติศาสตร์” : กบฏเงี้ยวเมืองแพร่.  ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 36 ฉบับที่ 9 กรกฎาคม 2558.

    ______.  (2559).  พลวัตไทย ลาว : การสร้างความหมายในทางเชื้อชาติ.  ใน ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 37 ฉบับที่ 11 (ก.ย. 2559) หน้า 122-137.

    ______.  (2559).  “การเมืองท้องถิ่นสหสัมพันธ์ของความสัมพันธ์หลายระดับ” วารสารรัฐศาสตร์และ

    รัฐประศาสนศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559): 106 – 137.

    ______.  (2560).  “พัฒนาการของกลุ่มทุนและเครือข่ายธุรกิจในภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 2446-ปัจจุบัน” ใน ศุภการ สิริไพศาล และชัยพงษ์ สำเนียง. (บรรณาธิการ).  ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์.  กรุงเทพฯ  : โครงการความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์ (สกว.).

    ______.  (2561).  “พัฒนาการของกลุ่มทุนและเครือข่ายธุรกิจในภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 2446-

    ปัจจุบัน” วารสารไทศึกษา ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561)

    ______.  (2561).  พัฒนาการกลุ่มทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย : การเปลี่ยนทุนเศรษฐกิจและ

    วัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมือง  วารสารพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1 : 1 (มกราคม – มิถุนายน) หน้า 1-53.

    ______.  (2561).  Book Review Imagining the Course of Life Self Transformation in a Shan

    Buddhist Community  ผี ขวัญ คน: ความหมายและความสัมพันธ์ของชีวิตคนไทใหญ่ รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ 9 : 2 (มกราคม – มิถุนายน) หน้า 184-190.

    ______.  (2561).  ความย้อนแย้ง ยอกย้อน สับสนของการศึกษาประวัติศาสตร์นิพนธ์ล้านนา ใน ชัยพงษ์

    สำเนียง และสมพงศ์ อาษากิจ. บรรณาธิการ.  (2561).  ข้ามพ้นกับดักคู่ตรงข้าม : ไทศึกษา ล้านนา

    คดี ประวัติศาสตร์ และมานุษยวิทยา.  เชียงใหม่ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

    ______.  (2563).  อำมาตยาธิปไตยไทยกับการฉุดรั้งสังคมให้ก้าวย่ำอยู่กับที่ : มองสังคมไทยผ่าน Thailand,

    society and politics ของ John L. S. Girling รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ 11 : 1 (มกราคม – มิถุนายน) กำลังจะพิมพ์

    ชัยพงษ์  สำเนียง  และพิสิษฏ์  นาสี.  (2557).  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: พื้นที่การเมือง(กึ่ง)ทางการโดย

    คนที่ไม่เป็นทางการมนุษยศาสตร์ศาสตร์ ปีที่ 15 2557(มกราคม – มิถุนายน).

    ชัยพงษ์  สำเนียง และพิสิษฏ์  นาสี.  (2557).  ประวัติศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือ: จากทางรถไฟสู่การ

    แย่งชิงทรัพยากร.  ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 35 ฉบับที่ 7.  หน้า 146-169.

    พิสิษฏ์ นาสี และชัยพงษ์ สำเนียง.  (2556).  การเลือกตั้ง: การสร้างเครือข่ายและสายใยความสัมพันธ์ใน

    การเมืองระดับท้องถิ่น.  วารสารสถาบันพระปกเกล้า ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2556.

    อานันท์  กาญจนพันธุ์ และชัยพงษ์  สำเนียง. (2559).  พื้นที่ชีวิตแรงงานข้ามชาติไทใหญ่: การสร้างตัวตน

    และความเป็นพลเมืองในพื้นที่วัฒนธรรม. วารสารสังคมศาสตร์ (ม.ค.-มิ.ย. ปีที่ 28 เล่มที่ 1). หน้า 111-153.

    อานันท์ กาญจนพันธุ์ และชัยพงษ์ สำเนียง.  (2560).  “แรงงานข้ามชาติไทใหญ่ : พลเมืองไทยที่ยังไร้สถานะ

    พลเมืองตามกฎหมาย".  มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 5 : 1 (มกราคม – มิถนายน 2560).

    หน้า 21-49.

    Chaipong Samnieng . (2561). The vote buying: situating agency in the politics of negotiating

    Identity Political Science and Public Administration Journal 9 : 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม)  1-48.

    ______.   (2561).  Even dictators can't monopolise a poll.  Bangkok Post 22 Sep 2018

อานันท์  กาญจนพันธุ์ และชัยพงษ์  สำเนียง. (2558).  แรงงานข้ามชาติอัตลักษณ์และสิทธิความเป็น

พลเมือง.  เชียงใหม่: สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, ชัยพงษ์ สำเนียง, กุลดา เพ็ชรวรุณ.  (2555).  กรณีศึกษาการจัดการ

ทรัพยากรธรรมชาติขององค์กรปกครองท้องถิ่น.  เชียงใหม่ : มูลนิธิสถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ.

ชัยพงษ์  สำเนียง.  (2560).  พัฒนาการของกลุ่มทุนและเครือข่ายธุรกิจในภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 2446-ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ  : โครงการความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์ (สกว.).

ชัยพงษ์  สำเนียง.  (2562).  พลวัตกลุ่มทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย : การเปลี่ยนทุนเศรษฐกิจ

และวัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมือง (พ.ศ. 2475-2560). กรุงเทพฯ  : โครงการความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์ (สกว.).

ทุนและรางวัลที่เคยได้รับ

  • 2556 ถึง 2558 ได้รับทุนจากโครงการวิจัย พลวัตการเมืองท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส.
  • ระหว่างปีการศึกษา 2558 ถึง 2562 ได้รับทุนจากโครงการวิจัย “ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์" สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • ปีการศึกษา 2560 ทุนมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี
  • 2561 ทุนสถาบันพระปกเกล้า

อาจารย์ปวีณา บุหร่า

Paweena Buhra

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1932

  Email: knod_bu@hotmail.com

ประวัติการศึกษา

  • ศศ.ม. ประวัติศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • ศศ.บ. ประวัติศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ

  • คณะผู้เขียนสารานุกรมจังหวัดพิษณุโลก “วัดวังมะสระหรือวัดวังมะสระปทุมทอง” “เมืองพรหมพิราม” และ “นครป่าหมาก” ใน โครงการสารานุกรมของจังหวัดพิษณุโลก, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2553
  • การวิจัยเอกสารเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงแนวคิดสิทธิธรรมในการครองราชย์สมัยรัชกาลที่ 4 และ รัชกาลที่ 5” โดยทุนสนับสนุนจากคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2553
  • ผู้ช่วยนักวิจัย/เลขานุการ, โครงการศึกษาการตรวจสอบโดยสังคม: เครื่องมือด้านการบริหารจัดการเพื่อการลดความยากจนและเพื่อความเข้มแข็งชุมชนในประเทศไทย กรณีศึกษาจังหวัดเพชรบุรี ร่วมกับ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI), 2548
  • ปวีณา บุหร่า. 2553. “การเปลี่ยนแปลงแนวคิดสิทธิธรรมในการครองราชย์สมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5.” ชุดรายงานวิจัยเอกสารเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงแนวคิดสิทธิธรรมในการครองราชย์สมัยรัชกาลที่ 4 และ รัชกาลที่ 5” โดยทุนสนับสนุนจากคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปี 2553 ในโครงการประชุมวิชาการภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • ปวีณา บุหร่า. 2552. “นโยบายต่างประเทศของสหภาพโซเวียตที่มีต่อประเทศยุโรปตะวันออก.” รายงานการประชุมวิชาการสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • ปวีณา บุหร่า. 2550. “ความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย:แนวคิดที่หลากหลาย.” รวมบทความโครงการประชุมวิชาการประจำปีสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • ปวีณา บุหร่า, (บก.). 2549. รวมบทความทางวิชาการทางประวัติศาสตร์ งานมุทิตาจิต รองศาสตราจารย์สุรีย์ พงศ์จันทร์ ในวาระเกษียณอายุราชการ. จัดพิมพ์โดยภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • ปวีณา บุหร่า. 2549. “อิสลามในสี่รัฐภาคเหนือของมาเลเซียตะวันตก.” รวมบทความวิชาการในงานประชุมวิชาการสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ทุนและรางวัลที่เคยได้รับ

  • ทุนศึกษาต่อมหาวิทยาลัยนเรศวร, 2556

อาจารย์ชนิดา พรหมพยัคฆ์

Chanida Prompayak

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1936

  Email: chanida.puaksom@gmail.com

ประวัติการศึกษา

  • อ.ม. (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อ.บ. (เกียรตินิยมอันดับสอง) (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลงานทางวิชาการ

  • โครงการแปลงานเขียนชิ้นสำคัญด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษาของ Reynaldo C. Ileto, Pasyon and Revolution: Popular Movements in the Philippines, 1840-1910 (Quezon City: Ateneo de Manila University Press, 1979) โดยได้รับอนุมัติจากผู้เขียน (กำลังดำเนินการ)
  • โครงการวิจัย “สารานุกรมภาพยนตร์ฟิลิปปินส์” โดยทุนวิจัยของหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน), 2556.
  • ไมเคิล เจ. มอนเตซาโน. 2560. “ทุน รัฐ และสังคมในประวัติศาสตร์ของสมาคมบำรุงการศึกษาตรัง.” แปลโดยอำนวยวิชญ์ ธิติบดินทร์และชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. ใน ไทยใต้ มลายูเหนือ: ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, บก. ไมเคิล เจ. มอนเตซาโน และแพทริค โจรี, บก.แปล โดย จิรวัฒน์ แสงทอง และทวีศักดิ์ เผือกสม. นครศรีธรรมราช: หลักสูตรอาเซียนศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
  • ชนิดา เผือกสม. 2558. “ประวัติศาสตร์จากมุมมองของประชาชนฟิลิปีโน: การเขียน(ใหม่)ประวัติศาสตร์ฟิลิปปินส์ของเตโอโดโร อากอนซิลโล.” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 9 “ปัญญาชน ศีลธรรม และภาวะสมัยใหม่: เสียงของมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้?” 27-28 สิงหาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก.
  • ริวันโต ตีรโตสุดาร์โม. 2556. “ชาวมลายู และ ชาวชวา ใน ‘ดินแดนใต้ลม’.” แปลโดย จิรวัฒน์ แสงทองและชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2556).
  • เรย์นัลโด้ อิเลโต้. 2553. “การวางโครงเรื่องประวัติศาสตร์ ฟิลิปปินส์แบบไม่เป็นเส้นตรง.” แปลโดย ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. วารสารรุไบยาต, ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (2553).
  • ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. 2546ก. “ธงชาติ เพลงชาติ สร้าง(รัฐ)ชาติไทย แผ่ขยายมหาอาณาจักรไทย.” ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ 24 ฉบับที่ 5 (มีนาคม 2546): 130-145.
  • ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. 2546ข. “ธงไตรรงค์กับอุดมการณ์รัฐไทย.” รัฐศาสตร์สาร, ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (2546): 67-147.
  • ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. 2543. บทปริทัศน์หนังสือเรื่อง “The Buru Quartet ของ ปราโมทยา อนันต์ ตูร์: ขบวนการชาตินิยมอินโดนีเซียในสายตาของชาวชวา.” วารสารธรรมศาสตร์, ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม, 2543): 127-134.
  • ชนิดา เผือกสม (แปล). 2556. “บทที่ 3 ศตวรรษของคนไท-ไต พ.ศ. 1762-1893.” ใน เดวิด เค. วัยอาจ, ประวัติศาสตร์ไทยฉบับสังเขป, บก. กาญจนี ละอองศรี (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำรงสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2556).
  • แอนโธนี มิลเนอร์. 2551. เกอราจาอัน: วัฒนธรรมการเมืองมลายูในช่วงอรุณรุ่งของระบอบอาณานิคม. แปลโดย ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.
  • ราชโมฮัน คานธี. 2551. ความแค้นและความสมานฉันท์: การทำ ความเข้าใจประวัติศาสตร์เอเชียใต้. แปลโดยทวีศักดิ์ เผือกสม และชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
  • เบเนดิคต์ แอนเดอร์สัน. 2548. เทวตำนานและขันติธรรมของชาวชวา. แปลโดย ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. เอกสารโครงการภูมิภาคศึกษา (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้).
  • ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. 2546. การเมืองในประวัติศาสตร์ธงชาติไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.

อาจารย์ดารุณี สมศรี

Darunee Somsri

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1938

  Email: lamutsrida@yahoo.com; daruneeso@nu.ac.th

ประวัติการศึกษา

  • M.A. (History), Australian National University
  • อ.ม. (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อ.บ. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานทางวิชาการ

  • โครงการวิจัยเอกสารเรื่อง “ประวัติศาสตร์นิพนธ์ว่าด้วยพระราชชายา เจ้าดารารัศมีกับการสร้างอัตลักษณ์ของเชียงใหม่” ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปีงบประมาณ, 2550.
  • นิสาพร วัฒนศัพท์ และดารุณี สมศรี. 2550. “การประเมินความมั่นคงทางอาหารและพลังงานของชุมชนในพื้นที่เขื่อนสิริกิติ์ ด้วย Jarman Underprivileged Area Score.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 (2560): 143-161.
  • ดารุณี สมศรี. 2559. “แม่บทประวัติศาสตร์แบบราชาชาตินิยมกับการสร้างบุคคลสำคัญของท้องถิ่นในภาคเหนือ” การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชมงคลสุรินทร์วิชาการ ครั้งที่ 8 “วิจัยเพื่อประเทศไทย 4.0,” วันที่ 22-23 ธันวาคม 2559, มหาวิทยาลัยราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
  • Darunee Somsri. 2016. “The Ralitivism of a Heirarchy in the Ethnographic Writings of American Missionaries: The Preliminary of Ethnic Classification in Northern Siam.” The Faculty of Liberal Arts, Thammasart University (FATU) Conference 2016, 22-23 August 2016, Thammasart University, Bangkok.
  • ดารุณี สมศรี. 2552. “ประวัติศาสตร์นิพนธ์เรื่องพระราชชายาเจ้าดารารัศมีและอัตลักษณ์ของเชียงใหม่.” จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์ 12 (มิ.ย. 2551-พ.ค. 2552): 50-65.

ทุนและรางวัลที่เคยได้รับ

  • ทุนเรียนดีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (สกอ.), 2556

อาจารย์ทิวาพร ใจก้อน

Thiwaporn Jaikorn

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1937

  Email: Thiwapornj@nu.ac.th

ประวัติการศึกษา

  • อ.ม. (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศ.บ. เกียรตินิยมอันดับสอง (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานทางวิชาการ

  • “พรรณพฤกษา: ว่าด้วยความรู้เรื่องพืชในสังคมสยาม” ภายใต้ชุดโครงการ ท่องไปบนดวงดาว ก้าวลงบนดวงจันทร์: ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ในสังคมไทย โดยทุนสนับสนุนจาก บพค. 2563 – 2564.
  • “การพัฒนาศักยภาพและการสร้างโอกาสให้กับผู้สูงวัยโดยผ่านกระบวนการทุนวัฒนธรรมชนสี่เผ่าในจังหวัดศรีสะเกษ” โดยทุนสนับสนุนจากหน่วยงานในระบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.), 2563.
  • “นวัตกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ตามอัตลักษณ์วัฒนธรรมผลิตภัณฑ์ชุมชนผ้าปักแซว บ้านรงระ ตำบลตูม อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ” โดยทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีที่ 1, 2562.
  • “รัฐไทยกับมุมมองเรื่องความแก่ชราและปัญหาผู้สูงอายุในจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2500 – 2561” โดยทุนสนับสนุนจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 2562.
  • “แนวคิดและความรู้เรื่องภัยธรรมชาติในสังคมไทย พ.ศ. 2460 – 2560” โดยทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 2561.
  • “สวนสาธารณะกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของเมืองศรีสะเกษ พ.ศ. 2523 ถึงปัจจุบัน” โดยทุนสนับสนุนจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 2559.
  • ทิวาพร ใจก้อน, “แนวคิดและความรู้เรื่องภัยธรรมชาติในสังคมไทย พ.ศ. 2460 – 2560,” วารสารประวัติศาสตร์, ปีที่ 46 หน้า 161-174 (มกราคม – ธันวาคม 2564).
  • ทิวาพร ใจก้อน, “การศึกษาโลกทัศน์เกี่ยวกับภัยธรรมชาติในสังคมไทย พ.ศ. 2410 – 2469,” วารสารปณิธาน, ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 หน้า 96- 130 (มกราคม – มิถุนายน 2562).
  • ทิวาพร ใจก้อน, “สวนสาธารณะกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของเมืองศรีสะเกษ พ.ศ. 2523 – ปัจจุบัน” วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 หน้า 84 – 100 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) .
  • ทิวาพร ใจก้อน, “ก่อนการมาถึงของ ‘เหตุที่เกิดอันตรายแก่ต้นเข้า’ : พืช สัตว์ และศัตรูพืชในสังคมไทยก่อนปฏิรูป พ.ศ. 2435,” วารสารชุมทางอินโดจีน : เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 หน้า 73 – 95 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2557).
  • Jaikorn, Thiwaporn. 2011. “A History of Alien Weed in Thai Society: The Case of Water Hyacinth 1901-1925” in the 6th Asian Graduate Forum on Southeast Asian Studies, Singapore (11-15 July 2011), Organized by Asia Research Institute, National University of Singapore.
  • ทิวาพร ใจก้อน, รัฐสยามกับการจัดการธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ แนวคิดและความรู้เรื่องศัตรูพืชในสังคมไทย (กรุงเทพฯ : พีเพรส, 2558)

ทุนและรางวัลที่เคยได้รับ

  • นักวิจัยดีเด่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (2564)
  • รางวัลเพชรมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (2562)
  • Asian Graduate Student Fellowships 2011, Asia Research Institute (ARI), Singapore (May–July 2011)
  • ทุนอุดหนุนการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2550)

นายกำพล กิ้กสันเทีย

Kampol Kiksantia

เลขานุการภาควิชาฯ

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1943

  Email: kampholk@nu.ac.th

ประวัติการศึกษา

  • ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ), มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ), มหาวิทยาลัยนเรศวร

นางสาวนภัสกร เหล่าวาณิชวัฒนา

Napasakorn Laowanitwattana

เลขานุการภาควิชาฯ

เบอร์โทรศัพท์ 05596 1943

  Email: klaowhana@gmail.com

ประวัติการศึกษา

  • บธ.ม. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • วท.บ. (กายภาพบำบัด), มหาวิทยาลัยนเรศวร