ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
(Bachelor of Arts Program in Political Science)

ปรัชญาและวัตถุประสงค์
ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการในศาสตร์ของรัฐทุกด้านทั้งด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการสู่สังคม รวมทั้งการบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ให้เข้ากับศาสตร์อื่น เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร: เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะดังนี้
  • มีความรอบรู้ด้านวิชาการทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์เบื้องต้น มีทักษะการเขียนและการคิดวิเคราะห์ และสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของสังคม
  • มีความรู้ความสามารถทางด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ทั้งในเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติ
  • มีทักษะในการสังเคราะห์ข้อมูลและการทำวิจัยทางด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
  • มีการบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ให้เข้ากับศาสตร์อื่น เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน
การสมัครและคุณสมบัติของผู้สมัคร

การรับเข้าศึกษา: รับเฉพาะนิสิตไทย

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา: เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 และข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2559

โอกาสของอาชีพหลังจบการศึกษา
วิชาเอกการเมืองการปกครอง
19592
  • กระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น เจ้าพนักงานปกครอง ตำรวจ ทหาร นักจัดการงานทั่วไป นักวิเคราะห์นโยบายและแผน พนักงานคุมประพฤติ นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
  • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระดับในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น นักจัดการงานทั่วไป เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
  • องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลปกครอง ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ศาลปกครอง หรือ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งในตำแหน่งเจ้าหน้าที่เลือกตั้ง เป็นต้น
  • หน่วยงานเอกชน เช่น ผู้สื่อข่าวการเมือง นักวิเคราะห์ข่าวการเมือง เป็นต้น
  • สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน เช่น อาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิชาการ นักวิจัย
  • องค์กรพัฒนาเอกชนต่าง ๆ เช่น นักเคลื่อนไหว นักรณรงค์
วิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
digital-world-map-hologram-blue-background_1379-901
  • กระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น นักการทูต นักวิเทศสัมพันธ์
  • หน่วยงานเอกชน เช่น ผู้สื่อข่าวต่างประเทศ นักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างประเทศ เป็นต้น
  • สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน เช่น อาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิชาการ นักวิจัย
  • องค์กรพัฒนาเอกชนระหว่างประเทศ เช่น นักเคลื่อนไหว นักรณรงค์
  • องค์การระหว่างประเทศและสถานทูต เช่น เจ้าหน้าที่โครงการ เจ้าหน้าที่กิจการด้านการเมือง
วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์
19593
  • กระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น เจ้าพนักงานปกครอง ตำรวจ ทหาร นักจัดการงานทั่วไป นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น นักทรัพยากรบุคคล นักวิชาการพัสดุ
  • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระดับในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น นักจัดการงานทั่วไป เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน บุคลากร นักวิชาการคลัง
  • หน่วยงานเอกชน เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม เจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น
  • สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน เช่น อาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิชาการ นักวิจัย
  • องค์กรพัฒนาเอกชนต่าง ๆ เช่น นักเคลื่อนไหว นักรณรงค์
รายละเอียดหลักสูตรระดับปริญญาตรี

จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 126 หน่วยกิต

     โครงสร้างหลักสูตร วิชาเอกการเมืองการปกครอง วิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วิชาเอกรัฐประศาสน-ศาสตร์ ประกอบด้วยหมวดวิชาที่สอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30
     1.1 วิชาบังคับ 30
     1.2 วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต 1

2. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 90
     2.1 วิชาแกน ไม่น้อยกว่า 33
     2.2 วิชาเอก 57
          2.2.1 วิชาเอกบังคับ ไม่น้อยกว่า 30
          2.2.2 วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 15
     2.3 วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี 6

     2.4 การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศหรือสหกิจศึกษา หรือการฝึกงาน 6

3. หมวดวิชาเลือกเสรี* ไม่น้อยกว่า 30

ประธานหลักสูตร

ดร.ศิวาภรณ์ ไชยเจริญ

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

วิชาเอกการเมืองการปกครอง
  1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิวากร แก้วมณี
  2. ดร.จุฑามณี สามัคคีนิชย์
  3. ดร.ปวงชน อุนจะนำ
วิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิกรณ์ ชูวัฒนานุรักษ์
  2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรไท โสภารัตน์
  3. ดร.พลดา เดชพลมาตย์
วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์
  1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พีรธร บุณยรัตพันธุ์
  2. ดร.ดาริน คงสัจวิวัฒน์
  3. ดร.ศิวาภรณ์ ไชยเจริญ

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ตามกลุ่มรายวิชาดังต่อไปนี้

     1.1) กลุ่มวิชาภาษา จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต

  • 001201 ทักษะภาษาไทย (Thai Language Skills)
  • 001211 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน (Fundamental English
  • 001212 ภาษาอังกฤษพัฒนา (Developmental English)
  • 001213 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ (English for Academic Purposes)

     1.2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้

  • 001221 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า (Information Science for Study and Research)
  • 001222 ภาษา สังคมและวัฒนธรรม (Language, Society and Culture)
  • 001224 ศิลปะในชีวิตประจำวัน (Arts in Daily Life)
  • 001225 ความเป็นส่วนตัวของชีวิต (Life Privacy)
  • 001226 วิถีชีวิตในยุคดิจิทัล (Ways of Living in the Digital Age)
  • 001227 ดนตรีวิถีไทยศึกษา (Music Studies in Thai Culture)
  • 001228 ความสุขกับงานอดิเรก (Happiness with Hobbies)
  • 001229 รู้จักตัวเอง เข้าใจผู้อื่น ชีวิตที่มีความหมาย (Know Yourself, Understand Others, Meaningful Life)
  • 001241 ดนตรีตะวันตกในชีวิตประจำวัน (Western Music in Daily Life)
  • 001242 การคิดเชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creative Thinking and Innovation)

     1.3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้

  • 001231 ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน (Philosophy of Life for Sufficient Living)
  • 001232 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต (Fundamental Laws for Quality of Life)
  • 001233 ไทยกับประชาคมโลก (Thai State and the World Community)
  • 001234 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น (Civilization and Local Wisdom)
  • 001235 การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม (Politics, Economy and Society)
  • 001236 การจัดการการดำเนินชีวิต (Living Management)
  • 001237 ทักษะชีวิต (Life Skills)
  • 001238 การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy)
  • 001239 ภาวะผู้นำกับความรัก (Leadership and Compassion)
  • 001251 พลวัตกลุ่มและการทำงานเป็นทีม (Group Dynamics and Teamwork)
  • 001252 นเรศวรศึกษา (Naresuan Studies)
  • 001253 การเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship)

     1.4) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้

  • 001271 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (Man and Environment)
  • 001272 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน (Introduction to Computer Information Science)
  • 001273 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน (Mathematics and Statistics in Everyday life
  • 001274 ยาและสารเคมีในชีวิตประจำวัน (Drugs and Chemicals in Daily Life)
  • 001275 อาหารและวิถีชีวิต (Food and Life Style)
  • 001276 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว (Energy and Technology Around Us)
  • 001277 พฤติกรรมมนุษย์ (Human Behavior)
  • 001278 ชีวิตและสุขภาพ (Life and Health)
  • 001279 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Science in Everyday Life)

     1.5) กลุ่มวิชาพลานามัย บังคับไม่นับหน่วยกิต จำนวน 1 หน่วยกิต

  • 001281 กีฬาและการออกกำลังกาย (Sports and Exercises)

2) หมวดวิชาเฉพาะ กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต ประกอบด้วย

     2.1) วิชาแกน กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 33 หน่วยกิต ประกอบด้วย

  • 205200 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ (Communicative English for Specific Purposes)
  • 205201 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการวิเคราะห์เชิงวิชาการ (Communicative English for Academic Analysis)
  • 205202 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอผลงาน (Communicative English for Research Presentation)
  • 214110 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น (Introduction to Economics)
  • 230478 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (Introduction to Law)
  • 830101 แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociological and Anthropological Theories and Concepts)
  • 833100 การเขียนและการค้นคว้าทางรัฐศาสตร์ (Writing and Inquiry in Political Science)
  • 833101 การเมืองการปกครองเบื้องต้น (Introduction to Politics and Government)
  • 833102 การเมืองการปกครองไทย (Thai Politics and Government)
  • 833103 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น (Introduction to International Relations)
  • 833104 รัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น (Introduction to Public Administration)
  • 833300 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์ (Research Methodology in Political Science)
  • 835321 จิตวิทยาสังคม (Social Psychology)

     2.2) วิชาเอก กำหนดให้เรียนวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือกของแต่ละสาขาวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต ประกอบด้วย

          2.2.1) วิชาเอกการเมืองการปกครอง กำหนดให้เรียนวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต ประกอบด้วย

               (1) วิชาเอกบังคับ กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

  • 833210 ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น (Introduction to Political Philosophy)
  • 833211 การเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics)
  • 833212 ทฤษฎีการเมือง
  • 833213 การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย
  • 833214 การเปลี่ยนสู่ประชาธิปไตย (Democratization)
  • 833215 สถาบันการเมืองและกระบวนการทางการเมืองไทย (Thai Political Institution and Process)
  • 833310 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับนักรัฐศาสตร์ (Civil Law and Commercial Law for Political Scientists)
  • 833311 กฎหมายอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Criminal Law for Political Scientists)
  • 833312 เศรษฐกิจการเมือง (Political Economy)
  • 833313 กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายปกครอง (Constitutional Law and Administrative Law)
  • 833210 ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น (Introduction to Political Philosophy)
  • 833211 การเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics)
  • 833212 ทฤษฎีการเมือง
  • 833213 การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย

               (2) วิชาเอกเลือก กำหนดให้เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

  • 833314 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Criminal Procedure for Political Scientists)
  • 833315 กฎหมายลักษณะพยานสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Law of Evidence for Political Scientists)
  • 833316 อุดมการณ์ทางการเมืองร่วมสมัย (Contemporary Political Ideology)
  • 833317 ความคิดทางการเมืองที่ไม่ใช่ตะวันตก (Non-Western Political Thought)
  • 833318 ทุนนิยม (Capitalism)
  • 833319 ทฤษฎีการเมืองมาร์กซิสต์ (Marxist Political Theory)
  • 833410 ความคิดทางการเมืองของนิคโคโล มาคิอาเวลลี (Niccolo Machiavelli and his Political Thought)
  • 833411 ความคิดทางการเมืองของอันโตนิโอ กรัมชี่ (Antonio Gramsci and his Political Thought)
  • 833412 การเคลื่อนไหวทางสังคม : ทฤษฎีและปฏิบัติ (Social Movement: Theory and Practice)
  • 833413 การจัดการปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ (Comparative Local Governance)
  • 833414 การเมืองการปกครองในเอเชียตะวันออก (East Asian Government and Politics)
  • 833415 กลุ่มผลประโยชน์ พรรคการเมือง และการเลือกตั้ง (Interest Groups, Political Parties and Elections)
  • 833416 ภาวะผู้นำและการมีส่วนร่วมของประชาสังคม (Leadership and Civil Engagement)
  • 833417 อุดมการณ์อนุรักษ์นิยมและขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติ (Conservatism and Counterrevolution)
  • 833418 การปฏิวัติ การกบฏและการต่อต้านขัดขืน (Revolution, Rebellion, and Resistance)
  • 833419 ศาสนาและการเมือง (Religion and Politics)
  • 833440 เพศสภาพและการเมือง (Gender and Politics)
  • 833441 ภาพยนตร์และการเมือง (Film and Politics)
  • 833442 ประชาธิปไตยครึ่งใบเชิงวิพากษ์
  • 833443 วรรณกรรมคัดสรรในทางรัฐศาสตร์ (Selected Readings in Political Science)
  • 833444 สัมมนาการเมืองไทยสมัยใหม่ (Seminar in Modern Thai Politics)
  • 833445 สัมมนารัฐกับประชาสังคม (Seminar in State and Civil Society)

               (3) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี กำหนดให้เรียนจำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

  • 833491 วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี (Undergraduate Thesis)

               (4) การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ หรือสหกิจศึกษา หรือการฝึกงาน กำหนดให้เลือกเรียน 1 รายวิชา จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้

  • 833492 การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ (International Academic or Professional Training)
  • 833493 สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
  • 833494 การฝึกงาน (Professional Training)

*หมายเหตุ: ให้นิสิตเลือกรายวิชาการฝึกงาน ในกรณีที่หน่วยฝึกไม่สามารถรับนิสิตสหกิจศึกษาได้

          2.2.2) วิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กำหนดให้เรียนวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต ประกอบด้วย

               (1) วิชาเอกบังคับ กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

  • 833211 การเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics)
  • 833220 ทฤษฎีทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Theories of International Relations)
  • 833221 ประวัติศาสตร์การทูตและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (History of Diplomacy and International Relations)
  • 833222 สถาบันและองค์การระหว่างประเทศ (International Institutions and Organizations)
  • 833320 เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ (International Political Economy)
  • 833321 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย (Thai Foreign Relations)
  • 833322 กฎหมายระหว่างประเทศและประเด็นโลกร่วมสมัย
  • 833323 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (International Relations of Southeast Asia)

และกำหนดให้เลือกเรียนกลุ่มรายวิชาภาษาต่างประเทศต่อไปนี้กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งจำนวน 6 หน่วยกิต ประกอบด้วย

กลุ่มวิชาภาษาจีน

  • 206111 ภาษาจีน 1 (Chinese I)
  • 206112 ภาษาจีน 2 (Chinese II)

กลุ่มวิชาภาษาญี่ปุ่น

  • 207101 ภาษาญี่ปุ่น 1 (Japanese I)
  • 207102 ภาษาญี่ปุ่น 2 (Japanese II)

กลุ่มวิชาภาษาพม่า

  • 218101 ภาษาพม่า 1 (Myanmar I)
  • 218102 ภาษาพม่า 2 (Myanmar II)

กลุ่มวิชาภาษาฝรั่งเศส

  • 219101 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น 1 (Elementary French I)
  • 219102 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น 2 (Elementary French II)

กลุ่มวิชาภาษาเกาหลี

  • 221101 ภาษาเกาหลี 1 (Korean Language I)
  • 221102 ภาษาเกาหลี 2 (Korean Language II)

กลุ่มวิชาภาษาอินโดนีเซีย

  • 229101 ภาษาอินโดนีเซีย 1 (Indonesian I)
  • 229102 ภาษาอินโดนีเซีย 2 (Indonesian II)

กลุ่มวิชาภาษาเวียดนาม

  • 778201 ภาษาเวียดนาม 1 (Vietnamese I)
  • 778202 ภาษาเวียดนาม 2 (Vietnamese II)

กลุ่มวิชาภาษาเขมร

  • 780101 ภาษาเขมร 1 (Cambodian I)
  • 780102 ภาษาเขมร 2 (Cambodian II)

               (2) วิชาเอกเลือก กำหนดให้เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

  • 780101 โลกาภิวัตน์และการเมืองโลก (Globalization and World Politics)
  • 780102 การก่อการร้ายและการศึกษาความมั่นคงในระดับโลก (Terrorism and Global Security Studies)
  • 780101 ชาติพันธุ์และชาตินิยมในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Ethnicity and Nationalism in International Relations
  • 780102 วรรณกรรมคัดสรรในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Selected Readings in International Relations)
  • 780101 การเมืองระหว่างประเทศกับภาพยนตร์ (International Politics and Film)
  • 780102 เอเชียตะวันออกร่วมสมัย (Contemporary East Asia)
  • 780101 นโยบายต่างประเทศของประเทศมหาอำนาจ (Foreign Policies of Major Powers)
  • 780102 การก่อตัวและการสิ้นสุดของจักรวรรดิในเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ (Rise and Fall of Empires in East and Southeast Asia)
  • 780101 สันติศึกษาในโลกร่วมสมัย (Peace Studies in Contemporary World )
  • 780102 สิทธิมนุษยชนและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  • 780101 ทักษะและปฏิบัติการทางการทูต
  • 780102 สัมมนาประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศร่วมสมัย (Seminar in Contemporary Issues of International Relations)

               (3) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี กำหนดให้เรียนจำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

  • 833491 วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี (Undergraduate Thesis)

               (4) การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ หรือสหกิจศึกษา หรือการฝึกงาน กำหนดให้เลือกเรียน 1 รายวิชา จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้

  • 833492 การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ (International Academic or Professional Training)
  • 833493 สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
  • 833494 การฝึกงาน (Professional Training)

หมายเหตุ: ให้นิสิตเลือกรายวิชาการฝึกงาน ในกรณีที่หน่วยฝึกไม่สามารถรับนิสิตสหกิจศึกษาได้

          2.2.3) วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์ กำหนดให้เรียนวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต ประกอบด้วย

               (1) วิชาเอกบังคับ กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

  • 833230 องค์การและการจัดการสาธารณะ (Public Organization and Management)
  • 833231 นโยบายสาธารณะ (Public Policy)
  • 833232 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ (Human Resource Management in Public Sector)
  • 833233 การบริหารงานคลังสาธารณะ (Public Finance Administration)
  • 833234 กฎหมายปกครองและการบริหารงานภาครัฐ (Administrative Law and Public Sector Administration
  • 833235 ธรรมาภิบาลและจริยธรรมในการบริหารงานภาครัฐ (Good Governance and Ethics in Public Administration)
  • 833330 การบริหารงานภาครัฐไทย (Thai Public Sector Administration)
  • 833331 การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ (Comparative Public Administration)
  • 833332 สถิติเพื่อการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Statistics for Public Administration Research)
  • 833333 ประเด็นร่วมสมัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Contemporary Issues in Public Administration)

               (2) วิชาเอกเลือก กำหนดให้เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

  • 8333213 การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย (Thai Local Government and Politics)
  • 833310 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับนักรัฐศาสตร์ (Civil Law and Commercial Law for Political Scientists)
  • 833311 กฎหมายอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Criminal Law for Political Scientists)
  • 833314 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Criminal Procedure for Political Scientists)
  • 833315 กฎหมายลักษณะพยานสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Law of Evidence for Political Scientists)
  • 833334 การบริหารงานท้องถิ่นไทย (Thai Local Administration)
  • 8333335 การคลังท้องถิ่น (Public Finance in Local Administration)
  • 833336 การจัดการภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ (Emergency and Disaster Management)
  • 833337 พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behavior)
  • 833338 การบริหารโครงการ (Project Management)
  • 833339 แรงงานสัมพันธ์ (Labor Relations)
  • 833413 (การจัดการปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ (Comparative Local Governance)
  • 833430 การจัดการความขัดแย้งในการบริหารงานภาครัฐ (Conflict Management in Public Administration)
  • 833431 การปกครองและพัฒนาเขตเมือง (Urban Governance and Development)
  • 833432 การจัดการและนโยบายสิ่งแวดล้อม (Environmental Governance and Policy)
  • 833433 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development)
  • 833434 การพัฒนาองค์การ (Organizational Development)
  • 833435 การบริหารเชิงกลยุทธ์ในภาครัฐ (Strategic Management in Public Sector)

               (3) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี กำหนดให้เรียนจำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

  • 833491 วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี ()Undergraduate Thesis)

               (4) การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ หรือสหกิจศึกษา หรือการฝึกงาน กำหนดให้เลือกเรียน 1 รายวิชา จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้

  • 833492 การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ (International Academic or Professional Training)
  • 833493 สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
  • 833494 การฝึกงาน (Professional Training)

หมายเหตุ: ให้นิสิตเลือกรายวิชาการฝึกงาน ในกรณีที่หน่วยฝึกไม่สามารถรับนิสิตสหกิจศึกษาได้

               3) หมวดวิชาเลือกเสรี กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยนิสิตสามารถเลือกเรียนในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยนเรศวรหรือสถาบันการศึกษาอื่นที่มหาวิทยาลัยนเรศวรรับรอง